ปวยเล้ง (spinacia)
ชื่อวิทยาศาตร์
Spinacia oleracea
ตระกูล Chenopodiaceae
ลักษณะทั่วไป เป็นพืชอายุสั้น ชอบอากาศเย็น – หนาว ใช้ส่วนของใบในการบริโภค ซึ่งมีคุณค่าทางอาหารดังนี้ vitamin A , ascorbic acid, riboflavin, thiamine, iron และ calcium
ฤดูปลูก ฤดูหนาว (ถ้าพื้นที่สูงกว่า 1,200 เมตร สามารถปลูกได้ตลอดปี)
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ดิน สามารถปลูกได้ดีในดินร่วนปนทราย สามารถระบายน้ำได้ดี PH ของดินควรอยู่ระหว่าง 6.0-6.5
อุณหภูมิ ต้องการสภาพอากาศที่เย็น อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 15-21 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูงกว่านี้ ปวยเล้งจะมีการเจริญเติบโตได้ไม่ดีเท่าที่ควร ต้องการความชื้นที่พอเหมาะ ถ้าได้รับน้ำมากเกินไปอาจทำให้เกิดโรคเน่าและเชื้อราเข้าทำลายได้
ปุ๋ย เนื่องจากปวยเล้งเป็นพืชที่ใช้ใบในการบริโภค ปวยเล้งจึงต้องการปุ๋ยไนโตรเจนสูง ใส่ปุ๋ยเมื่อมีอายุ 15 วันหลังหยอดเมล็ดและ ฉีดพ่นทางใบทุก 5-7 วัน
ตระกูล Chenopodiaceae
ลักษณะทั่วไป เป็นพืชอายุสั้น ชอบอากาศเย็น – หนาว ใช้ส่วนของใบในการบริโภค ซึ่งมีคุณค่าทางอาหารดังนี้ vitamin A , ascorbic acid, riboflavin, thiamine, iron และ calcium
ฤดูปลูก ฤดูหนาว (ถ้าพื้นที่สูงกว่า 1,200 เมตร สามารถปลูกได้ตลอดปี)
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ดิน สามารถปลูกได้ดีในดินร่วนปนทราย สามารถระบายน้ำได้ดี PH ของดินควรอยู่ระหว่าง 6.0-6.5
อุณหภูมิ ต้องการสภาพอากาศที่เย็น อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 15-21 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูงกว่านี้ ปวยเล้งจะมีการเจริญเติบโตได้ไม่ดีเท่าที่ควร ต้องการความชื้นที่พอเหมาะ ถ้าได้รับน้ำมากเกินไปอาจทำให้เกิดโรคเน่าและเชื้อราเข้าทำลายได้
ปุ๋ย เนื่องจากปวยเล้งเป็นพืชที่ใช้ใบในการบริโภค ปวยเล้งจึงต้องการปุ๋ยไนโตรเจนสูง ใส่ปุ๋ยเมื่อมีอายุ 15 วันหลังหยอดเมล็ดและ ฉีดพ่นทางใบทุก 5-7 วัน
วิธีการปลูกและดูแลรักษา
1. เตรียมดิน ไถดินตากไว้ 7-10 วัน ใส่ปูนขาว ปุ๋ยคอก ไถพรวนดินให้ละเอียด ขึ้นแปลง กว้าง 80-1 เมตร ปรับหน้าแปลงให้เรียบ
1. เตรียมดิน ไถดินตากไว้ 7-10 วัน ใส่ปูนขาว ปุ๋ยคอก ไถพรวนดินให้ละเอียด ขึ้นแปลง กว้าง 80-1 เมตร ปรับหน้าแปลงให้เรียบ
2. การปลูก หว่านโรยห่างๆ
หรือขีดร่องขวางแปลงลึกประมาณ 1 ซม. ห่างกัน 15 ซม. หยอดเมล็ดตามร่องห่างกัน 2-3 ซม. กลบเมล็ดด้วยดินละเอียด หรือคลุมด้วยฟาง หญ้าแห้ง หรือวัสดุคลุมแบบอื่นๆ
ที่สามารถจัดหาได้ ดูแลรักษาและรดน้ำเช้าเย็น
3. การถอนแยก หลังหยอดเมล็ด
15 วัน ถอนแยกต้นให้ห่างกัน
10 ซม. ถ้าห่างพอดีอาจจจะไม้ต้องถอนแยกก็ได้
โรคและแมลงของปวยเล้งที่สำคัญได้แก่
1. แมลงศัตรูพืช
- เพลี้ยไฟ พบช่วงฤดูร้อน สังเกตจากใบมีรอยหยาบสีน้ำตาลและหงิก
- หนอนคืบกินใบ พบได้ตลอดปี
2. โรค
-โรคโคนเน่า เกิดจากการทำลายของเชื้อราในดิน สังเกตดูต้นผักจะหักล้มตายเป็นหย่อมๆ บริเวณที่เกิดโคนเน่า
-โรคใบจุด พบในช่วงที่มีอากาศเย็น เกิดจากเชื้อรา Septoria sp. แผลสีน้ำตาลและมีตุ่มเล็กๆสีดำบริเวณแผล
-โรคใบจุดที่เกิดจากเชื้อ Cercospora sp. อาจพบได้ทุกฤดูกาล ลักษณะเป็นแผลสีน้ำตาล ตรงกลางแผลเป็นสีเทา
ระบาดมากในฤดูฝน
-โรคราน้ำค้าง อาการเป็นแผลสีเหลือง หรือสีน้ำตาลบนใบ ใต้ใบมีสปอร์สีขาวหรือเทา
4. การเก็บเกี่ยว สามารถเก็บเกี่ยวได้เมื่อปวยเล้งมีอายุ
35-45 วัน แล้วแต่พันธุ์หรือฤดูกาล โดยถอนต้นพร้อมรากหรือตัดลึกกว่าผิวดินเล็กน้อย ปล่อยให้ต้นอ่อนตัวในที่ร่ม
พืชไม่ควรเปียกเมื่อบรรจุ และไม่ควรล้างน้ำแล้วบรรจุทันทีควรพึ่งไว้ให้หน้ำหยดหมดก่อน
การป้องกันกำจัดโรคและแมลงโรคและแมลงของปวยเล้งที่สำคัญได้แก่
1. แมลงศัตรูพืช
- หนอนกระทู้ดำ
(black cusworm) พบในช่วงฤดูร้อน
สังเกตจากลำต้นล้ม เหี่ยว
- เพลี้ยอ่อน พบตลอดปี และพบมากช่วงฤดูร้อน เพลี้ยอ่อนจะอยู่ตามใต้ใบและยอด ทำให้ใบหงิก- เพลี้ยไฟ พบช่วงฤดูร้อน สังเกตจากใบมีรอยหยาบสีน้ำตาลและหงิก
- หนอนคืบกินใบ พบได้ตลอดปี
2. โรค
-โรคโคนเน่า เกิดจากการทำลายของเชื้อราในดิน สังเกตดูต้นผักจะหักล้มตายเป็นหย่อมๆ บริเวณที่เกิดโคนเน่า
-โรคใบจุด พบในช่วงที่มีอากาศเย็น เกิดจากเชื้อรา Septoria sp. แผลสีน้ำตาลและมีตุ่มเล็กๆสีดำบริเวณแผล
-โรคใบจุดที่เกิดจากเชื้อ Cercospora sp. อาจพบได้ทุกฤดูกาล ลักษณะเป็นแผลสีน้ำตาล ตรงกลางแผลเป็นสีเทา
ระบาดมากในฤดูฝน
-โรคราน้ำค้าง อาการเป็นแผลสีเหลือง หรือสีน้ำตาลบนใบ ใต้ใบมีสปอร์สีขาวหรือเทา
- ใบจุด
- ใบจะเป็นจุดสีดำ
รอบๆ แผลจะเป็นสีเหลือง เมื่อเชื้อแพร่ระบาดมากขึ้น แผลจะขยาย
( Leaf spot ) ติดกัน เกิดใบไหม้แห้งกรอบ
( Leaf spot ) ติดกัน เกิดใบไหม้แห้งกรอบ
- ราน้ำค้าง
- บนใบจะเป็นพื้นสีเหลือง
ใต้ใบจะเป็นเส้นใยสีขาวเป็นกระจุก
-โรคเน่าเละ
- เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
เนื้อเยื่อพืชจะยุบตัวลง แผลจะมีสีน้ำตาลอ่อน เปียกและชื้นเป็น
( Soft rot ) เมือกไหลเยิ้ม มีกลิ่นเหม็น
( Soft rot ) เมือกไหลเยิ้ม มีกลิ่นเหม็น
-โรคโคนเน่า หรือ - จะพบมากในช่วงเริ่มแตกกอเป็นต้นไป ใบที่อยู่ล่างๆ
จะเหลืองและเหี่ยว ที่โคนต้นจะ
โรคราเมล็ดผักกาด เป็นรอยสีน้ำตาล มีเส้นใยสีขาวอยู่รอบ ๆ และจะพบเมล็ดสีน้ำตาลคล้ายเมล็ด
( Sclerotinia rot ) ผักกาดติดอยู่บริเวณโคนต้น
โรคราเมล็ดผักกาด เป็นรอยสีน้ำตาล มีเส้นใยสีขาวอยู่รอบ ๆ และจะพบเมล็ดสีน้ำตาลคล้ายเมล็ด
( Sclerotinia rot ) ผักกาดติดอยู่บริเวณโคนต้น
หากพบใช้สารสกัด จุลินทรีย์พวกบาซิลัส
ซับทิลิส และพวกไตรโคเดอม่า ฉีดพ่นและรดโคนต้น หรืออาจใช้น้ำหมักชีวภาพตามสูตรต่างๆ ได้
ตามความเหมาะสมของพื้นที่
3. ไส้เดือนฝอย พบได้ทั้งปีในบางพื้นที่ สังเกตุจากต้นแคระแกร็นและมีปมที่ราก
3. ไส้เดือนฝอย พบได้ทั้งปีในบางพื้นที่ สังเกตุจากต้นแคระแกร็นและมีปมที่ราก
เคล็ดลับในการปลูก
การเลือกใช้เมล็ดที่มีความงอกดี และเหมาะสมกับพื้นที่
การเลือกใช้เมล็ดที่มีความงอกดี และเหมาะสมกับพื้นที่
ผักปวยเล้ง (Spinach)
ผักปวยเล้งหรือภาษาจีนกลางแมนดารินเรียกว่า
“ปอไช่”
ไม่ใช่ผักพื้นบ้านของบ้านเมืองเรา
ตามการคาดเดาน่าจะเป็นผักมาจากเมืองจีน มาพร้อมกับการอพยพของชาวจีนในสมัยก่อนๆ ตอนนี้จึงเป็นผักที่หากินได้ง่ายในตลาดทุกแห่งของบ้านเรา เป็นผักที่มีคุณค่าทางอาหารมากมาย สามารถเป็นผักที่ร่วมเป็นเมนูบนโต๊ะอาหารของร้านอาหารดังๆ ทั้งหลายในเมืองไทยได้สบายๆ
ปวยเล้งเป็นผักที่มีรสหวาน
ฤทธิ์เย็น อุดมไปด้วย โปรตีน น้ำตาล เบต้าแคโรทีน วิตามิน เอ บี ซี ดี
เค เหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมคนีเซียม กรดนิโคติน โฟลิค
เป็นต้น
เป็นเพราะมีสารอาหารจำนวนมาก โดยเฉพาะมีธาตุเหล็กกระมังจึงมีสรรพคุณในการบำรุงเลือด
ช่วยย่อย ช่วยชุ่มชื้น ช่วยเสริมความงาม สร้างความสมบูรณ์ของเลือดพร้อมทั้งกระจายเลือดให้แก่อวัยวะทั้ง
5 อันได้แก่ ตับ หัวใจ
ม้าม ปอดและไต และช่วยดับกระหาย ต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน วัณโรคปอด
กระเพาะลำไส้เสียความสมดุล ท้องผูก ริดสีดวงทวาร มีส่วนช่วยในการบรรเทา ช่วยหล่อลื่นลำไส้
ดับกระหายและช่วยย่อยได้ดี
นอกจากนี้เนื่องจากมีเบต้าแคโรทีนสูงมากจึงช่วยป้องกันมะเร็งได้ด้วย กินผักปวยเล้งเป็นประจำจะช่วยลดความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ ทั้งยังทำให้ยืดเวลาในการเป็นโรคต้อกระจกด้วย
ในผักปวยเล้งมีโฟลิค จึงเป็นผักที่เหมาะสำหรับสตรีมีครรภ์
ผักปวยเล้งทำให้ผ่อนคลาย จึงเหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคจิตประสาทด้วย
ปวยเล้งมีเหล็ก สามารถช่วยบำรุงเลือด ให้ใบหน้ามีสีเลือดฝาด โดยนำผักปวยเล้งประมาณ 2
ขีดมาล้างให้สะอาด
หั่นเป็นท่อนๆ ลวกในน้ำเดือดที่ใส่เกลือเล็กน้อย ตักขึ้น สะเด็ดน้ำหรือจะราดน้ำเย็นก็ได้ ใส่น้ำมันงา
ซีอิ๊วขาว ชิมได้รสพอดี โรยด้วยงาขาวคั่ว 4 ช้อนชา
ปวยเล้งต้มตับหมู
ปวยเล้ง 3 ขีด
ล้างหั่นท่อน ตับหมู 2 ขีด
ล้างหั่นชิ้นบางๆ ขิงอ่อน ครึ่งแง่ง หั่นฝอย เกลือ ต้มน้ำให้เดือด ใส่ขิงและตับหมู
จากนั้นตามด้วยผักปวยเล้ง น้ำเดือดแล้วใส่เกลือปรุงรสตามต้องการ
จะช่วยผลิตเลือด บำรุงเลือด
เนื่องจากผักปวยเล้งมีกรดออกซาลิกมาก เวลาปรุงอาหารต้องทำให้สุกเต็มที่
กรดออกซาลิกจึงจะหายไป เนื่องจากมีกรดออกซาลิกนี่แหละ พอไปรวมกับแคลเซียมจะเกิดเป็นแคลเซียมออกซาเลต ถ้าสิ่งนี้สะสมในตัวมากเกินไป
จะทำให้เกิดนิ่วได้ แต่ก็อย่างที่กล่าวมาว่าถ้าทำให้สุกเต็มที่กรดออกซาลิกจะน้อยลงได้ จึงไม่ต้องกังวลมาก
แต่ก็อย่างที่ว่าต้องห้ามกินร่วมกับอาหารที่มีแคลเซียมมาก จะทำให้แคลเซี่ยมตกตะกอน
ผู้ป่วยที่กระดูกหัก สตรีวัยทองควรกินแต่น้อย
สนใจเมล็ดพันธุ์ติดต่อได้ที่
Tel. 089-583-0131 (1-2 call)
082-935-3225 (True)
https://khawbanwhandee.Lnwshop.com/
https://www.facebook.com/khawbanwhandee
แหล่งที่มาของข้อมูล
:
ฐานเรียนรู้และองค์ความรู้
ทางการเกษตร สำนักวิจัยฯ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
คมชัดลึกออนไลน์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น